วันอังคารที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2555

พาราโบลา

พาราโบลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พาราโบลา
กราฟที่แสดงการสะท้อน เส้นไดเรกตริกซ์ (เขียว) และเส้นที่เชื่อมต่อจุดโฟกัสและเส้นไดเรกตริกซ์กับพาราโบลา (น้ำเงิน)
พาราโบลา (อังกฤษ: parabola, กรีก: παραβολή) เป็นภาคตัดกรวยที่เกิดจากการตัดกันระหว่างพื้นผิวกรวยด้วยระนาบที่ขนานกับเส้นกำเนิดกรวย (generating line) ของพื้นผิวนั้น พาราโบลาสามารถกำหนดเป็นด้วยจุดต่าง ๆ ที่มีระยะห่างจากจุดที่กำหนด คือ จุดโฟกัส (focus) และเส้นที่กำหนด คือ เส้นไดเรกตริกซ์ (directrix)
พาราโบลาเป็นแนวคิดที่สำคัญในทฤษฎีคณิตศาสตร์ อย่างไรก็ดี พาราโบลาสามารถพบได้บ่อยมากในโลกภายนอก และสามารถนำในใช้เป็นประโยชน์ในวิศวกรรม ฟิสิกส์ และศาสตร์อื่น ๆ
พาราโบลามีหลายรูปชนิด เช่นกรวยคว่ำกรวยหงาย บ้างทีตัดผ่าน 2 ช่อง บางทีตัดผ่าน 4 ช่อง แล้วแต่สมการที่มีการกำหนดมา ซึ่งจะเป็นชนิดให้ก็ได้แต่ไม่สามารถเป็นเส้นตรงๆได้เพราะจะไม่เรียกว่า พาราโบลา
ซึ่งโดยปกติ สมการพาราโบลามีอยู่หลายแบบด้วยกัน เช่น
 (x-h)^2 = 4p(y-k) \,
 y = ax^2 + bx + c    , a \neq 0 \,
 y = a(x-h)^2 + k       , a \neq 0 \,
 (y-k)^2 = 4p(x-h) \,
 x = ay^2 + by + c    , a \neq 0 \,
 x = a(y-k)^2 + h       , a \neq 0 \,

ที่มาจาก  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B2

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น